Green Economy Watch หรือ จุลสารจับกระแสเศรษฐกิจสีเขียว มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว และนำเสนอการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจสีเขียว
โดยในปีที่ 1 (พ.ศ. 2558-2559) ได้ดำเนินการตีพิมพ์จุลสารออกเป็นรายไตรมาส จำนวน 3 ฉบับ และมีการเผยแพร่บทความผ่านทางเว็บไซต์ของศูนย์ PRO-Green ด้วย ส่วนในปีที่ 2 (พ.ศ. 2560) เป็นต้นมา จะเปลี่ยนรูปแบบเป็นบทความออนไลน์ ซึ่งเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์เท่านั้น
ปีที่ 4 (พ.ศ.2563-2564)
- การฟื้นฟูเศรษฐกิจจากการระบาดของโรค COVID-19 ให้เป็นเศรษฐกิจสีเขียว ตอนที่ 1: เวทีหารือเพื่อออกแบบเศรษฐกิจใหม่ในคริสตทศวรรษ 2020 โดย คุณคมศักดิ์ สว่างไสว
- การฟื้นฟูเศรษฐกิจจากการระบาดของโรค COVID-19 ให้เป็นเศรษฐกิจสีเขียว ตอนที่ 2: ดัชนีการกระตุ้นเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย คุณคมศักดิ์ สว่างไสว
- การฟื้นฟูเศรษฐกิจจากการระบาดของโรค COVID-19 ให้เป็นเศรษฐกิจสีเขียว ตอนที่ 3: กองทุนการเงินระหว่างประเทศ โดย คุณคมศักดิ์ สว่างไสว
- เมืองและการเปลี่ยนแปลงสู่ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน โดย คุณพิมพ์นารา รอดกุล
- SDG Insights | สถานะประเทศไทยจาก SDG Index: 4 ปีผ่านไป อะไรดีขึ้นหรือแย่ลงบ้าง ? โดย ผศ.ชล บุนนาค
- SDG Insights | เผยความซับซ้อนของความยั่งยืนผ่านเกมลดโลกร้อน โดย ดร.ญาณิน จิวะกิดาการ หุยากรณ์
- SDG Insights | การประชุม กพย. 19 ธันวาคม 2562 กับนัยยะต่อการขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทย โดย ผศ.ชล บุนนาค
- SDG Insights | มอง CPTPP ผ่านเลนส์ SDGs: การพัฒนาที่ไม่สมดุล โดย ผศ.ชล บุนนาค
ปีที่ 3 (พ.ศ.2561-2562)
- การเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรม: บทเรียนของการลดโลกร้อนจากประเทศเยอรมนี และข้อคิดสำหรับประเทศไทย โดย รศ.ดร.กิริยา กุลกลการ
- เกษตรอินทรีย์กับการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย คุณธีรวีย์ ศิริภาพงษ์เลิศ
- เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการบริหารจัดการน้ำ โดย คุณธีรวีย์ ศิริภาพงษ์เลิศ
- คำนิยามเศรษฐกิจสีเขียว หรือ Green Economy โดย คุณพิมพ์นารา รอดกุล
- คำนิยามของเศรษฐกิจสีน้ำเงิน (Blue Economy) และการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสีน้ำเงินในประเทศไทย โดย คุณพิมพ์นารา รอดกุล
- วิพากษ์ PM2.5: ฝีมือมนุษย์หรือธรรมชาติ เรียบเรียงโดย คุณศรัณย์ ประวิตรางกูร
- วิพากษ์ PM (ครั้งที่ 2): ความเหลื่อมล้ำทางสังคม “ใครก่อให้เกิด PM2.5: คนจน หรือ คนรวย” โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ
ปีที่ 2 (พ.ศ.2560)
- มาตรการราคาคาร์บอนกับความสามารถในการแข่งขันของไทยและประเทศในอาเซียน โดย รศ.ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ
- การบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน…ภารกิจกู้โลก โดย กรณิศ ตันอังสนากุล
- มาตรการรัฐกับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในยานยนต์ โดย ฐิติภัทร ดอกไม้เทศ
- การกำหนดราคาคาร์บอน (Carbon Pricing) โดย รศ.ดร. ชยันต์ ตันติวัสดาการ และคมศักดิ๋สว่างไสว
- เศรษฐกิจสีเขียวกับมุมมองใหม่ๆ จากศาสตร์แห่งความยั่งยืน โดย ชล บุนนาค
- การทบทวนแนวคิดป่าไม้ในเมือง (urban forest) โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ
- แนวคิดการสร้างป่าไม้ในเมือง (urban forest) โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ
- การกัดเซาะหาดทราย : วิกฤติจริงหรือ? โดย หิริพงศ์ เทพศิริอำนวย
- Water Footprint กับเศรษฐกิจสีเขียว โดย ดร.ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ
- เก็บได้จากการประชุม Regional Expert Meeting หัวข้อ “Revitalizing Rural Development for Poverty Eradication in Asia” ระหว่างวันที่ 2 – 4 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทารา อุดรธานี โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ
- สกลนคร 2560: บทเรียนจากการรับมือภัยพิบัติ โดย ดร.ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ
- การสนับสนุนธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย คมศักดิ์ สว่างไสว
- Green Roof: หลังคาเขียวกับหลังคาไทย โดย หิริพงศ์ เทพศิริอำนวย
- การมุ่งสู่เศรษฐกิจสีเขียวโดยคำนึงถึงผลกระทบจากปัญหาโลกร้อน โดย ศรัณย์ ประวิตรางกูร
ปีที่ 1 (พ.ศ.2558-2559)